Book Club: The Danish Way of Parenting

Book Club: The Danish Way of Parenting

สิ่งที่เรียนรู้จากหนังสือ Book: Danish Way of Parenting

การเลี้ยงลูกอย่างเป็นตัวของตัวเองเป็นก้าวแรกที่ส่งเสริมให้เด็กๆกล้าและจริงใจต่อตัวเอง ลูกควรมีโอกาสเรียนรู้และยอมรับอารมณ์ทั้งด้านบวกและลบ ตั้งแต่ยังเด็กเพื่อช่วยให้พวกเขาอยู่ในโลกได้ง่ายขึ้น การหลอกตัวเองมีแต่จะทำให้สับสนและละเลยความรู้สึกที่แท้จริง ทำให้การตัดสินใจต่างๆมาจากความปรารถนาภายนอกมมากกว่าภายใน และไม่นำมาซึ่งความฝาสุข

Parenting with authenticity is the first step to guiding children to be courageously true to themselves. Acknowledging and accepting all emotions, even the hard ones, early on makes it easier to maneuver the world. If we teach our children to recognize and accept their authentic feelings, good or bad, the challenges and rough patches in life won’t topple them. 

 

ตอนจบแบบเทพนิยาย ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์สัน เป็นนักเขียนชาวเดนมาร์กที่โด่งดังในประวัติศาสตร์ เขาแต่ง เงือกน้อย ลูกเป็ดขี้เหร่ แต่สิ่งที่คนทั่วไปไม่รู้คือ เดิมทีแล้วเรื่องดั้งเดิมไม่ได้มีตอนจบสวยงามแบบที่เราคุ้นเคย หลายเรื่องจบแบบเศร้า ชาวเดนมาร์กเชื่อว่าโศกนาฏกรรมและสิ่งไม่น่าพิศมันสมควรได้รับการพูดถึง เราเรียนรู้นิสัยคนเมื่อตอนที่เขาผจญความลำบากได้ดีกว่ายามได้รับความสำเร็จ เพราะฉะนั้นการเรียนรู้ทุกแง่มุมของชีวิตจึงจำเป็นมาก ช่วยสร้างความเข้าใจและความเคารพความเป็นมนุษย์

Fairy Tale Ending Hans Christian Anderson is one of the most famous Danish writers in history. (The little mermaid, Ugly Duckling) But people don’t realize that Anderson’s original stories don’t have happy endings, they are tragedies. Danes believe that tragedies and upsetting events are things we should talk about too. We learn more about characters from our sufferings than from our successes. Therefore; it creates empathy and a deeper respect for humanity. 

 

แล้วการเล่นช่วยได้อย่างไร?

How can ‘play’ help with emotion?

การเล่นมีผลโดยตรงต่อความสามารถในการปรับตัวกับความเครียด งานวิจัยพบว่าการเล่นช่วยพัฒนาทักษะการจัดการความเครียด ทำให้สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ รวมทั้งแก้ไขปัญหาและเดินสู่เป้าหมายในแบบที่ยืดหยุ่นมากขึ้น

Play had a direct effect on all of their life adaptability skills. Research conducted by a health institute in Palo Alto concluded that play could be employed to improve coping skills, particularly the ability to adapt and to approach problems and goals in more flexible ways.

 

สำหรับเด็กๆแล้วสถารการณ์ทางสังคมก็เป็นสถารการณ์ที่เครียดได้ เพราะการเล่นกับเพื่อนอาจมีทั้งความร่วมมือและความผิดใจกัน ความกลัวและความโกรธเป็นแค่อีกอารมณ์ที่เด็กต้องเรียนรู้ที่จะจัดการให้ได้ ยกตัวอย่างการเล่นบทบาทสมมติด้วยกันกับเด็กหลายวัย ทำให้เด็กกล้าที่จะทดสอบความสามารถตัวเองในแบบที่ทำไม่ได้กับผู้ใหญ่

For children, social situations are stressful/ Social play can bring on both conflict and cooperation. Fears and anger are just some of the emotions that a child must learn to cope with in order to keep playing. Fun imaginative play with mixed age groups encourages kids to test themselves in a way that they wouldn’t with parents and teachers. 

Giving kids space to learn and grow

Danes trust their children to be able to try new things and give them space to build their own trust in themselves. Danish parents try to meet children where they feel secure trying new skills, then challenge and invite them to god further or try something new. Not too pressured that they lose the joy, but still feel exciting and strange.